หน้าแรก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
พระราชดำริ
ความเป็นมา
ทำเนียบประธาน
คณะกรรมการมูลนิธิฯ
สื่อและองค์ความรู้
แนวทางการใช้หนังสือ
อ่านสารานุกรมไทย
E-book
E-Pub
สื่อภาษามือ
สาระนานากับสารานุกรมไทย
วิดีโอ
All E-book
สารานุกรมไทย
สารานุกรมไทย ฉบับเสริมการเรียนรู้
สารานุกรมไทย ฉบับพิเศษ
คำถาม-คำตอบ สารานุกรมไทย
แนวการใช้สารานุกรมไทย
ข่าวสารและกิจกรรม
ข่าวสาร
กิจกรรม
สั่งซื้อและบริจาค
สั่งซื้อเพื่อตนเอง
บริจาค
สถานที่จัดจำหน่าย
ข้อมูลการติดต่อ
เล่มที่ 9
วิธีการทางการแพทย์ในการควบคุมการเจริญพันธุ์
สามารถแชร์ได้ผ่าน :
สำหรับเด็กระดับโต
และบุคคลทั่วไป
สำหรับเด็กเล็ก
สำหรับเด็กระดับกลาง
(12-14 ปี)
สารบัญ
เรื่ิองที่คุณ
อาจสนใจ
นิทานพื้นบ้านไทย
พลาสติกกับชีวิตในปัจจุบัน
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
สารพิษและสิ่งปนเปื้อนอาหาร
พระเจดีย์
การคุมกำเนิดแบบชั่วคราวที่ไม่ต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์
ระยะปลอดภัย
หมาย
ถึง การ
คุม
กำเนิด
โดย
งด
การ
อยู่
ร่วม
กัน
ใน
ระยะ
ที่
มี
ไข่
สุก โดย
อาศัย
หลัก
ว่า
หญิง
มี
ไข่
สุก
เดือน
ละ
ครั้ง
เดียว และการตั้ง
ครรภ์
จะ
เกิด
ได้
ก็
ต่อ
เมื่อ
มี
การ
อยู่
ร่วม
กัน
ใน
ระยะ
ที่
มี
ไข่
สุก
เท่า
นั้น
การ
หา
ระยะ
ปลอด
ภัย ทำ
ได้ ๒ ทาง คือ
๑. จาก
บัน
ทึก
การ
มี
ประจำ
เดือน
๒. จาก
การ
วัด
อุณหภูมิ
พื้น
ฐาน
ของ
ร่าง
กาย
การ
หา
ระยะ
ปลอด
ภัย
จาก
บัน
ทึก
การ
มี
ประจำ
เดือน
มี
หลัก
ปฏิบัติ
ดัง
นี้ คือ ผู้
ใช้
ต้อง
ทำ
บัน
ทึก
การ
มี
ประจำ
เดือน
ไว้
ทุกๆ เดือน
จน
ครบ ๑๒ เดือน โดย
บัน
ทึก
ระยะ
รอบประจำเดือน นับ
จาก
วัน
แรก
ของ
ประจำ
เดือน
ไป
จน
ถึง
วัน
สุด
ท้าย
ก่อน
มี
ประจำ
เดือน
ที่
สั้น
ที่
สุด และ
ยาว
ที่
สุด
ใน ๑๒ เดือน
นี้ และ
คิด
ระยะ
ที่
ไม่
ปลอด
ภัย
ดัง
นี้
วัน
แรก
ที่
ไม่
ปลอดภัย = รอบ
ประจำ
เดือน
ที่
สั้น
ที่
สุด -๑๘
วัน
สุด
ท้าย
ที่
ไม่
ปลอด
ภัย = รอบ
ประจำ
เดือน
ที่
ยาว
ที่
สุด -๑๑
วัน
แรก
ที่
มี
ประจำ
เดือน คือ
วัน
ที่ ๕ ธันวาคม
วัน
แรก
ที่
ไม่
ปลอด
ภัย คือ
วัน
ที่ ๙ ของ
รอบ
ประจำ
เดือน (วัน
ที่ ๑๓ ธันวาคม)
วัน
สุด
ท้าย
ที่
ไม่
ปลอด
ภัย วัน
ที่ ๒๐ ของ
รอบ
ประจำ
เดือน (วัน
ที่ ๒๔ ธันวาคม)
บัน
ทึก
ประจำ
เดือน ๑๒ เดือน
นี้ จะ
ต้อง
เป็น
ของ ๑๒ เดือน
สุด
ท้าย
เสมอ โดย
เพิ่ม
ประจำ
เดือน
ของ
เดือน
ใหม่
ลง
ไป
ทุก
เดือน และ
ตัด
ประจำ
เดือน
ที่
เก่า
ที่
สุด
ออก
เช่น
กัน หลัก
ของ
การ
คิด
หา
ระยะ
ไม่
ปลอด
ภัย
นี้
มี
ราย
ละเอียด
อธิบาย
ไว้
โดย โอกิโน (Kyusaka Ogino) และคเนาส์ (Herman Knaus)
การ
หา
วัน
ที่
ไม่
ปลอด
ภัย
โดย
การ
วัด
อุณหภูมิ
พื้น
ฐาน
ของ
ร่าง
กาย
การ
หา
ไข่
สุก
โดย
วิธี
นี้ อาศัย
หลัก
ที่
ว่า
ก่อน
ไข่
สุก
ร่าง
กาย
จะ
มี
อุณหภูมิ
ต่ำ แต่
ภาย
หลัง
ไข่
สุก
แล้ว
ร่าง
กาย
จะ
มี
อุณหภูมิ
สูง