หน้าแรก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
พระราชดำริ
ความเป็นมา
ทำเนียบประธาน
คณะกรรมการมูลนิธิฯ
สื่อและองค์ความรู้
แนวทางการใช้หนังสือ
อ่านสารานุกรมไทย
E-book
E-Pub
สื่อภาษามือ
สาระนานากับสารานุกรมไทย
วิดีโอ
All E-book
สารานุกรมไทย
สารานุกรมไทย ฉบับเสริมการเรียนรู้
สารานุกรมไทย ฉบับพิเศษ
คำถาม-คำตอบ สารานุกรมไทย
แนวการใช้สารานุกรมไทย
ข่าวสารและกิจกรรม
ข่าวสาร
กิจกรรม
สั่งซื้อและบริจาค
สั่งซื้อเพื่อตนเอง
บริจาค
สถานที่จัดจำหน่าย
ข้อมูลการติดต่อ
เล่มที่ 8
อุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
สามารถแชร์ได้ผ่าน :
สำหรับเด็กระดับโต
และบุคคลทั่วไป
สำหรับเด็กเล็ก
สำหรับเด็กระดับกลาง
(12-14 ปี)
สารบัญ
เรื่ิองที่คุณ
อาจสนใจ
อุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
สุนทรภู่
หอศิลป์
เพลงลูกทุ่ง
การศึกษา
การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์
กระดูกหัก
กระดูก
หัก (fracture) หมาย
ความ
ถึง
กระดูก
แยก
ออก
จาก
กัน
ก่อ
ให้
เกิด
ความ
เจ็บ
ปวด บวม เคลื่อน
ไหวไม่
ได้ หรือเคลื่อน
ไหวผิด
ปกติ เนื่อง
จาก
อุบัติ
เหตุ เช่น ถูก
รถ
ชน หก
ล้ม ตก
จาก
ที่
สูง
หรือ
กระดูก
เป็น
โรค
ไม่
แข็ง
แรง
อยู่
แล้ว กระดูก
เปราะ
เมื่อ
ถูก
แรง
กระ
ทบ
กระเทือน
เพียง
เล็ก
น้อย
ก็
อาจ
หัก
ได้
ประเภท
ของ
กระดูก
หัก
๑. กระดูก
หัก
แบบ
สามัญ (simple fracture) หมาย
ถึง กระดูก
หัก
แล้ว
ไม่ปรากฏแผล
ให้
เห็น
บน
ผิว
หนัง
๒. กระดูก
หัก
แผล
ปิด (compound fracture) หมาย
ถึง กระดูก
ที่
หัก
ทิ่ม
แทง
ผิว
หนัง
ออก
มา
ภาย
นอก
๓. กระดูก
หัก
แตก
ย่อย (comminuted fracture) หมาย
ถึง ชิ้น
ส่วน
ของ
กระดูก
ที่
หักปรากฏออก
มา
มาก
กว่า ๒ ชิ้น
ขึ้น
ไป
๑. กระดูกหักแบบสามัญ
๒. กระดูกหักแบบแผลเปิด
๓. กระดูกหักแบบแตกย่อย
อาการ
ของ
กระดูก
หัก
๑. มี
ความ
เจ็บ
ปวด
บริเวณ
ที่
มี
กระดูก
หัก
๒. มี
อาการ
บวม
รอบๆ บริเวณ
ที่
กระดูก
หัก
๓. รูป
ร่าง
ของ
แขน
ขา
หรือ
หัว
ไหล่
อาจ
เปลี่ยน
แปลง
ไป
จาก
รูป
ร่าง
ปกติ
๔. บริเวณ
นั้น
เคลื่อน
ไหวไม่
ได้ หรือ
เคลื่อน
ไหวแล้ว
จะ
เจ็บ
ปวด
มาก
๕. อาจ
ได้
ยิน
เสียง
กระดูก
หัก
เมื่อ
ประสบ
อุบัติ
เหตุ
บาด
เจ็บ
๖. หาก
กด
เบาๆ ลง
บน
กระดูก
บริเวณ
ที่
หัก อาจ
ได้
ยิน
เสียง
กรอบ
แก
รบ
วิธี
ปฏิบัติ
การ
ปฐมพยาบาล
ที่
ดี
ที่
สุด คือ ให้
ผู้
ป่วย
นอน
อยู่กับที่
ห้าม
เคลื่อน
ย้าย
โดย
ไม่
จำ
เป็น เพราะ
หาก
ทำ
ผิด
วิธี
อาจ
บาด
เจ็บ
มากขึ้น ถ้า
ผู้
ป่วย
มี
เลือด
ออก
ให้
ห้าม
เลือด
ไว้
ก่อน หาก
มี
อาการช็อคให้
รักษาช็อคไป
ก่อน ถ้า
จำ
เป็น
ต้อง
เคลื่อน
ย้าย
ผู้
ป่วย
ให้
เข้า
เฝือก
ชั่ว
คราว ณ ที่
ผู้
ป่วย
นอน
อยู่ ถ้า
บาด
แผล
เปิด ให้
ห้าม
เลือด
และ
ปิด
แผล
ไว้
ชั่ว
คราว
ก่อน
เข้า
เฝือก สิ่ง
ที่
ควร
ระวังมาก
ที่
สุด
คือ
กระดูก
สัน
หลัง
หัก
หรือ
กระดูก
ต้น
คอ
หัก ถ้า
เคลื่อน
ย้าย
ผิด
วิธี อาจ
ทำ
ให้
ผู้
ป่วย
พิการ
ตลอด
ชีวิต หรือถึงแก่
ชีวิต
ได้
ทัน
ที
ขณะ
เคลื่อน
ย้าย
การ
เข้า
เฝือก
ชั่ว
คราว
เป็น
วิธี
การ
บังคับ
ให้
กระดูก
ส่วน
ที่
หัก
ได้
อยู่
นิ่ง
ไม่
เคลื่อน
ไหว เพื่อ
ลด
ความ
เจ็บ
ปวด
และ
ป้อง
กัน
มิ
ให้
เกิด
ความ
พิการ
เพิ่มขึ้น มี
หลัก
อยู่
ว่า
หาก
หา
สิ่ง
ที่
ใกล้
มือ
เพื่อ
เข้า
เฝือก
ไม่
ได้ ให้
มัด
ส่วน
ที่
กระดูก
หัก
ไว้ ไม่
ให้
เคลื่อน
ไหว เช่น กระดูก
ขาข้าง
หนึ่ง
หัก ก็
ให้
มัด