หน้าแรก
เกี่ยวกับมูลนิธิ
พระราชดำริ
ความเป็นมา
ทำเนียบประธาน
คณะกรรมการมูลนิธิฯ
สื่อและองค์ความรู้
แนวทางการใช้หนังสือ
อ่านสารานุกรมไทย
E-book
E-Pub
สื่อภาษามือ
สาระนานากับสารานุกรมไทย
วิดีโอ
All E-book
สารานุกรมไทย
สารานุกรมไทย ฉบับเสริมการเรียนรู้
สารานุกรมไทย ฉบับพิเศษ
คำถาม-คำตอบ สารานุกรมไทย
แนวการใช้สารานุกรมไทย
ข่าวสารและกิจกรรม
ข่าวสาร
กิจกรรม
สั่งซื้อและบริจาค
สั่งซื้อเพื่อตนเอง
บริจาค
สถานที่จัดจำหน่าย
ข้อมูลการติดต่อ
เล่มที่ 8
อุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
สามารถแชร์ได้ผ่าน :
สำหรับเด็กระดับโต
และบุคคลทั่วไป
สำหรับเด็กเล็ก
สำหรับเด็กระดับกลาง
(12-14 ปี)
สารบัญ
เรื่ิองที่คุณ
อาจสนใจ
โรคพาร์กินสัน
แผนที่
ภูมิปัญญาไทย
เพลงลูกทุ่ง
กล้วยไม้
ศิลาจารึกและการอ่านจารึก
ช็อก
ช็อกหรือ
อาการ
อัน
หมาย
ถึง
สภาวะ
ที่
ร่าง
กาย
อ่อน
เพลีย
หมด
แรง จน
ทำ
ให้
ระบบ
การ
ทำ
งาน
ของ
หัว
ใจ การ
หาย
ใจ
และ
การ
ไหล
เวียน
ของ
โลหิต
ผิด
จาก
ภาวะ
ปกติ
ผู้
ป่วย
มี
อาการ
หน้า
ซีด ผิว
หนัง
ซีด หาย
ใจ
เร็ว
และ
ตื้น
ชีพ
จร
เบา
และ
เร็ว เหงื่อ
ออก
ชุ่ม
ทั่ว
ตัว ผิว
หนัง
เย็นและ
ชื้น รู
ม่าน
ตา
ขยาย
กว้าง ผู้
ป่วย
มี
ความ
รู้
สึก
อ่อน
เพลีย กระหาย
น้ำ วิง
เวียน
หน้า
มืด คลื่นเหียน และ
ใน
ที่
สุด
จะ
หมด
สติ
ไป
วิธี
ปฐมพยาบาล
ให้
ผู้
ป่วย
นอน
หงาย จัดศีรษะต่ำ
กว่า
เท้า
เล็ก
น้อย อาจ
ใช้
สิ่ง
ของ
หนุน
เท้า
ทั้ง
สอง
ข้าง คลุม
ตัว
ให้
รับ
ความอบ
อุ่น เพื่อ
ให้
เลือด
ไหล
เวียน
ไป
เลี้ยง
สมอง
ได้
ดี
ขึ้น มี
ข้อ
ยก
เว้น
ใน
กรณี
ที่
ต้อง
ยกศีรษะให้
สูง
กว่าลำ
ตัว
คือ ผู้
ที่
มี
การ
บาด
เจ็บ
ของศีรษะและ
สมอง
เป็น
ลม
หน้า
แดง
จาก
ความ
ร้อน
มาก
เกิน
ไป เช่น กรำ
แดด
หรือ
ถูก
ความ
ร้อน
มาก ๆ หรือ
ผู้
ที่
ได้
รับ
บาด
เจ็บ
บริเวณ
ทรวง
อก ทำ
ให้
หาย
ใจ
ลำบาก
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยอาการช็อก โดยหนุนส่วนขาหรือเท้าให้สูงกว่าศีรษะ ประมาณ ๑๒ นิ้ว ห่มผ้าให้ร่างกายอบอุ่น แต่ไม่ให้ร้อนเกินไป
ผู้
ที่
ได้
รับ
บาด
เจ็บ
บริเวณ
ใบ
หน้า
หรือ
หมด
สติ
ไม่
รู้
สึก
ตัว
ควร
ให้
นอน
หงาย แต่
ให้
ใบ
หน้า
ตะแคง
หัน
ไป
ข้างใด
ข้าง
หนึ่ง
เพื่อ
ป้อง
กัน
ไม่
ให้
ผู้
ป่วย
สำลัก
เอา
เลือด หรือ
เศษ
อาหาร น้ำ
มูก
น้ำ
ลาย
เข้า
ไป
ใน
หลอดลม
หรือ
ปอด
ระหว่าง
ที่
รอ
แพทย์
หรือ
รอ
ส่ง
โรง
พยาบาล ผู้
ช่วย
เหลือ
อาจ
ทำ
การ
ห้าม
เลือด หรือ
ใส่
เฝือก
ชั่ว
คราว
ให้
แก่ผู้
ป่วย
แล้ว
แต่
กรณี
หาก
มี
บาด
แผล
รุน
แรง
ก็
ทำ
การ
ปฐมพยาบาล
ไป
เท่า
ที่
เห็น
สม
ควร
ตลอด
จน