ตัวอย่างที่ 1 | (2 0) เป็นเมตริกที่มีหนึ่งแถวสองสดมภ์ เราเรียกว่า เมตริก 1 x 2 | |||||
ตัวอย่างที่ 2 | 2 | เป็นเมตริกที่มีสองแถวหนึ่งสดมภ์ เราเรียกว่า เมตริก 2 x 1 | ||||
3 | ||||||
ตัวอย่างที่ 3 | 2 | 1 | เป็นเมตริกที่มีสองแถวสองสดมภ์ เราเรียกว่า เมตริก 2 x 2 | |||
1 | 5 | |||||
ตัวอย่างที่ 4 | 1 | 2 | 3 | เป็นเมตริกที่มีสองแถวสามสดมภ์ เราเรียกว่า เมตริก 2 x 3 |
0 | 1 | 4 |
ดังนั้น เมตริกที่มี m แถว n สดมภ์เราเรียกว่า เมตริก m x n เมตริก m x n ใดๆ เป็นเมตริกแบบเดียวกันทั้งสิ้น เช่น (2 0) และ (1 3) เป็นเมตริกแบบเดียวกัน | ||||
แต่ (2 0) กับ | 2 | ไม่เป็นเมตริกแบบเดียวกัน | ||
0 |
เมตริกใดที่มีสมาชิกเป็นศูนย์ทุกตัว เราเรียกว่า เมตริกศูนย์ เช่น | 0 0 0 | ||
0 0 0 |
เมตริกที่มีจำนวนแถวเท่ากับจำนวนสดมภ์ เราเรียกว่า เมตริกจัตุรัส เช่น | 2 1 | 1 3 1 | ||||
1 5 | 2 1 4 | |||||
4 7 6 |
สำหรับเมตริกจัตุรัสที่มีรูปแบบ เช่น | 1 0 | 1 0 0 | เป็นเมตริกจัตุรัสที่มีสมาชิกทุกตัว | ||||
0 1 | 0 1 0 | ||||||
0 0 1 | |||||||
ในตำแหน่งตามเส้นทแยงมุม จากบนซ้ายล่างขวาเป็น 1 และสมาชิกในตำแหน่งอื่นๆ เป็น 0 หมด เราเรียกว่า เมตริกเอกลักษณ์ |
ตัวอย่างอื่น เช่น | ก | 40 | |||||
ข | = | 38 | |||||
ค | 37 |